PADA Academy
หน้าหลัก
หลักสูตร
หลักสูตร PADA Course
หลักสูตร PADA InterBIZ
หลักสูตร BRAND ID
หลักสูตร PADA X
คณะกรรมการ
คณะกรรมการหลักสูตร
คณะกรรมการที่ปรึกษา
คณะกรรมการ Interbiz
ทำเนียบรุ่น
ทำเนียบรุ่น ที่ 1
ทำเนียบรุ่น ที่ 2
ทำเนียบรุ่น ที่ 3
ทำเนียบรุ่น ที่ 4
ทำเนียบรุ่น ที่ 5
ทำเนียบรุ่น ที่ 6
บทความ
สมัครเรียน
สมัครเรียน PADA Course
สมัครเรียน PADA InterBIZ
สมัครเรียน BRAND ID
สมัครเรียน PADA X
PADA NET
ติดต่อเรา
PADA Academy
หน้าหลัก
หลักสูตร
หลักสูตร PADA Course
หลักสูตร PADA InterBIZ
หลักสูตร BRAND ID
หลักสูตร PADA X
คณะกรรมการ
คณะกรรมการหลักสูตร
คณะกรรมการที่ปรึกษา
คณะกรรมการ Interbiz
ทำเนียบรุ่น
ทำเนียบรุ่น ที่ 1
ทำเนียบรุ่น ที่ 2
ทำเนียบรุ่น ที่ 3
ทำเนียบรุ่น ที่ 4
ทำเนียบรุ่น ที่ 5
ทำเนียบรุ่น ที่ 6
บทความ
สมัครเรียน
สมัครเรียน PADA Course
สมัครเรียน PADA InterBIZ
สมัครเรียน BRAND ID
สมัครเรียน PADA X
PADA NET
ติดต่อเรา
หน้าหลัก
สมัครเรียน
หลักสูตร
หลักสูตร PADA Course
ทำเนียบรุ่น ที่ 10
คณะกรรมการ
ทำเนียบรุ่น
ทำเนียบรุ่น ที่ 1
ทำเนียบรุ่น ที่ 2
ทำเนียบรุ่น ที่ 3
ทำเนียบรุ่น ที่ 4
ทำเนียบรุ่น ที่ 5
ทำเนียบรุ่น ที่ 6
ทำเนียบรุ่น ที่ 7
ทำเนียบรุ่น ที่ 8
ทำเนียบรุ่น ที่ 10
ทำเนียบรุ่น ที่ 9
ทำเนียบรุ่น ที่ 10
บทความ
PADA NET
ติดต่อเรา
PADA Academy
หน้าหลัก
สมัครเรียน
สมัครเรียน PADA Course
สมัครเรียน PADA InterBIZ
สมัครเรียน BRAND ID
สมัครเรียน PADA X
หลักสูตร PADA Course
หลักสูตร PADA InterBIZ
หลักสูตร BRAND ID
หลักสูตร PADA X
คณะกรรมการ
คณะกรรมการหลักสูตร
คณะกรรมการที่ปรึกษา
คณะกรรมการ Interbiz
ทำเนียบรุ่น
ทำเนียบรุ่น ที่ 1
ทำเนียบรุ่น ที่ 2
ทำเนียบรุ่น ที่ 3
ทำเนียบรุ่น ที่ 4
ทำเนียบรุ่น ที่ 5
ทำเนียบรุ่น ที่ 6
ทำเนียบรุ่น ที่ 7
ทำเนียบรุ่น ที่ 8
ทำเนียบรุ่น ที่ 9
บทความ
PADA NET
ติดต่อเรา
PADA Academy
หน้าหลัก
หลักสูตร
หลักสูตร PADA Course
หลักสูตร PADA InterBIZ
หลักสูตร BRAND ID
หลักสูตร PADA X
คณะกรรมการ
คณะกรรมการหลักสูตร
คณะกรรมการที่ปรึกษา
คณะกรรมการ Interbiz
ทำเนียบรุ่น
ทำเนียบรุ่น ที่ 1
ทำเนียบรุ่น ที่ 2
ทำเนียบรุ่น ที่ 3
ทำเนียบรุ่น ที่ 4
ทำเนียบรุ่น ที่ 5
ทำเนียบรุ่น ที่ 6
ทำเนียบรุ่น ที่ 7
ทำเนียบรุ่น ที่ 8
บทความ
สมัครเรียน
สมัครเรียน PADA Course
สมัครเรียน PADA InterBIZ
สมัครเรียน BRAND ID
สมัครเรียน PADA X
ติดต่อเรา
ทักษะ Digital Intelligence สำคัญอย่างไรกับการยกระดับพลเมืองไทยให้เป็น #Digital Citizen
ปัจจุบันในยุคที่ทุกอย่างอยู่บนสมาร์ทโฟนเสมือนเป็นปัจจัยที่ 5 ของมนุษย์ อยากรู้อะไรอยากได้อะไรก็เพียงแค่จิ้มบนแป้นคีย์บอร์ดเท่านั้นข้อมูลต่าง ๆ ก็หลั่งไหลออกมาได้ดังใจและรวดเร็ว หรืออาจจะกล่าวได้ว่า เป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารไร้พรมแดนและขีดจำกัดในยุคสังคมดิจิทัล
หากทว่าอย่างไรก็ดีการที่มนุษย์เข้าสู่การเป็นสังคมดิจิทัล ก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย หากไม่สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่บนโลกอินเตอร์เน็ตหรือบนโลกออนไลน์ได้ว่าสิ่งใดผิดหรือถูกสิ่งใดใช่หรือไม่ใช่ สิ่งใดจริงหรือเท็จ ก็เป็นเรื่องที่อาจส่งผลร้ายตามมาได้ นั่นหมายถึงเราต้องมีความฉลาดในการใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ ให้สมกับที่เป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพซึ่งเป็นเรื่องที่เรากำลังจะพูดถึงในลำดับ
ต่อไปค่ะ
เราคงเคยได้ยินคำว่า ความฉลาดทางปัญญา: IQ (Intelligence Quotient) และความฉลาดทางอารมณ์: EQ (Emotional Quotient) มาแล้ว แต่ในยุคดิจิทัลนี้มีอีกคำหนึ่งที่เกิดขึ้นมาคือคำว่า“ความฉลาดทางดิจิทัล หรือ “DQ : Digital Intelligence Quotient” โดย DQ Institute หรือสถาบันด้านดิจิทัลและหลายองค์กรในระดับสากล ได้ให้คำนิยามไว้ว่า DQ คือชุดทักษะ องค์ความรู้ คุณลักษณะพฤติกรรมที่คนนำมาปรับใช้เพื่อรับมือกับการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลและเพื่อจะพัฒนาให้เป็น Digital Citizenหรือพลเมืองดิจิทัลในอนาคตได้อย่างชาญฉลาดและเหมาะสม
ดังนั้น ความเป็นพลเมืองดิจิทัลจึงหมายถึง พลเมืองที่ใช้สื่อดิจิทัลหรือสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม อย่างเข้าใจตามบรรทัดฐานมีความรับผิดชอบต่อการใช้เทคโนโลยีในการ
สร้าง Connection
อย่างเหมาะสมและมีความฉลาดทางดิจิทัล โดยมุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคมความมีจริยธรรมของการมีส่วนร่วม การเคารพผู้อื่น รวมทั้งการปฏิบัติและรักษาไว้ซึ่งกฎเกณฑ์เพื่อสร้างความสมดุลของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขและรับผิดชอบ
จากการสำรวจของ DQ Institute ได้ทำการวัดระดับความสามารถในการปรับใช้เทคโนโลยีของเด็กอายุ 8-12 ปีจากทั่วโลก 30 ประเทศรวมถึงประเทศไทย โดยทำการศึกษาเจาะจงไปที่ประเด็นความปลอดภัยบนโลกออนไลน์ (Online Safety) และทักษะพื้นฐานในการใช้งานเทคโนโลยี (Digital Citizenship) ปรากฏว่าประเทศไทยมีอันดับ DQในแต่ละด้านอยู่ในอันดับที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย พบว่าประเทศเหล่านี้มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่สูงกว่าค่ามาตรฐานของโลกทั้งสิ้น ฉะนั้นการยกระดับพลเมืองไทยให้มีความฉลาดทางดิจิทัลที่สูงขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญเพื่อเตรียมความพร้อมให้พลเมืองไทย เป็น พลเมืองที่มีความฉลาดทางดิจิทัลอย่างมีคุณภาพในโลกยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ด้วยการเพิ่มพูนทักษะความรู้ทางดิจิทัลให้กับพลเมือง
สำหรับประเทศไทยนั้น ได้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการยกระดับพลเมืองไทยให้เป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพโดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA ได้จัดการอบรมให้กับภาคประชาชนขึ้นโดยอ้างอิงมาตรฐานจากกรอบ DQ Framework ของ DQ Institute เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของคนไทยประกอบด้วยกรอบเนื้อหา 5 ด้าน ได้แก่
👉
Digital Identity อัตลักษณ์ดิจิทัล
: การสร้างความตระหนักรู้ในการสร้างตัวตนบนโลกออนไลน์ให้เข้าใจ และระมัดระวังในการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวบนโลกออนไลน์
👉
Digital Use การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเหมาะสม
: การสร้างความเข้าใจในการจัดสรรเวลาหน้าจอได้อย่างสมดุลและรับรู้ผลกระทบต่อสุขภาพกายและจิตใจจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตทั้งกับตนเองและผู้อื่น
👉
Digital Security การจัดการความปลอดภัยในโลกดิจิทัล
: การสร้างความตระหนักรู้ถึงพฤติกรรมเสี่ยงหรือความไม่ปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้นบนโลกดิจิทัลรวมทั้งสร้างความเข้าใจต่อประเด็นภัยคุกคามไซเบอร์ที่เป็นอันตรายต่อข้อมูล ระบบและอุปกรณ์ รวมทั้งรู้จักวิธีหรือเครื่องมือเบื้องต้นที่จะช่วยป้องกันและรับมือกับภัยคุกคามได้
👉
Digital Literacy การรู้เท่าทันดิจิทัล
: การสร้างองค์ความรู้ให้เข้าใจความหลากหลายของข้อมูลบนโลกดิจิทัลให้สามารถค้นหา วิเคราะห์ และเผยแพร่เนื้อหาที่ถูกต้องตามหลักกฎหมายและจริยธรรม
👉
Digital Communication การสื่อสารดิจิทัล
: การสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของผลกระทบจากการสร้างร่องรอยดิจิทัลทั้งทางบวกและลบรู้จักเครื่องมือและวิธีการในการจัดการร่องรอยทางดิจิทัลที่ดีและการมี
คอนเนคชั่น
ที่ดี เพื่อสร้างความร่วมมือที่ดีบนโลกดิจิทัล
สร้าง Connection
,
ผู้บริหารยุคใหม่
,
หลักสูตร Mini MBA ระยะสั้น
แหล่งที่มา
https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355-goto-citizens21st.html
https://techsauce.co/tech-and-biz/how-is-digital-intelligence-important-in-digital-age
บทความที่น่าสนใจ
รู้จัก PegasusSpyware ที่ผู้ใช้ควรระวัง
บิลเกตส์ เตรียมบริจาคเงินเกือบทั้งหมดเข้ามูลนิธิอำลาตำแหน่งมหาเศรษฐีอันดับหนึ่งของโลก
บันได 6 ขั้น สร้างแบรนด์ให้ธุรกิจ
CustomerJourney สำคัญอย่างไรต่อการทำตลาดออนไลน์
องค์ประกอบอย่างไรจึงจะเป็น Smart City
ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต และพ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม แตกต่างกันอย่างไร
Digitizationและ Digitalizationคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไรต่อองค์กร
5 ภัยคุกคามไซเบอร์ที่ควรระวัง ปี 2565
เปิด 7 เหตุผล ลงทุนกองทุนรวมดีอย่างไร
กฎหมาย PDPA คืออะไรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง
Interpersonal skills ทักษะสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
8 เทคนิคสร้าง Storytelling ส่งเสริมแบรนด์ช่วยต่อยอดธุรกิจ
Social Listening ดีต่อแบรนด์อย่างไร
10 นิสัยนักลงทุนที่ประสบความสำเร็จ
เทรนด์ New Normal ไลฟ์สไตล์หลังโควิด ช่วยติดปีกให้ธุรกิจ
Web 3.0 มีความสำคัญอย่างไรกับ Blockchain
CloudKitchen โอกาสของธุรกิจร้านอาหารในยุค New Normal
BCG Economy Model โมเดลเศรษฐกิจใหม่ กับโอกาสใหม่ทางธุรกิจในยุค New Normal
12 เทรนด์ ดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง ปี 2565 ที่ทุกธุรกิจต้องเตรียมพร้อม
ทักษะ Digital Intelligence สำคัญอย่างไรกับการยกระดับพลเมืองไทยให้เป็น#Digital Citizen
SocialListening กลยุทธ์ฟังเสียงลูกค้า เสริมทัพให้ธุรกิจ
ส่องเทรนด์การลงทุนหลัง Covid-19
ปัง!! ไม่ไหว รู้ก่อนรวยก่อนรู้จักกลยุทธ์การตลาด4E ก่อนทำธุรกิจนำเข้าสินค้า
การส่งเสริมทักษะและยกระดับความฉลาดทางดิจิทัล (DigitalIntelligence Quotient) สำคัญอย่างไรในยุคดิจิทัล
Fintech กุญแจสำคัญท่ามกลางกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
5 ประโยชน์ของการสร้างแบรนด์ให้กับธุรกิจ
โอกาสทางธุรกิจของนักพัฒนาแอพพลิเคชั่น และการบริการด้วย #Telemedicine
เรื่องต้องรู้!! หากอยากทำธุรกิจนำเข้าสินค้า
มาทำความรู้จัก 7 แพลตฟอร์ม #Fintech
คอนเนคชั่น พลังมิตรภาพช่วยธุรกิจไปได้ไกล
4 เทคนิคการสร้างแบรนด์ในยุคดิจิทัล
คอนเนคชั่นคืออะไร..สำคัญกับการทำธุรกิจยังไง?
วิธีการสร้าง Connection ทางธุรกิจในประเทศไทย
เหตุผลที่คุณควรเรียนหลักสูตร MBA ในปี 2564 นี้?
8 หลักสูตรสําหรับผู้บริหารระดับสูง
ทำไมคอนเนคชั่นทางธุรกิจในประเทศไทยจึงมีความสำคัญ?
หลักสูตร Mini MBA vs. MBA vs. Executive MBA: หลักสูตรใดที่เหมาะกับคุณ?
เรื่องที่คนไทยต้องรู้เกี่ยวกับวัคซีน "แอสตร้าเซเนก้า"
COVID-19 สายพันธุ์อินเดีย... รุนแรงแค่ไหน?
8 กลุ่มผู้ป่วย เสี่ยงติดโควิด-19
คอนเนคชั่นดี มีชัยไปกว่าครึ่ง
6 เรื่องควรรู้ ก่อนฉีดวัคซีนสู้โควิด
ผู้บริหารยุคนี้ต้องรู้อะไรบ้าง
Unicorn คืออะไร?
Disney+ Hotstar ทำลายล้างสตรีมมิ่งโลก
Cryptojacking คู่แข่ง Ransomware!
6G ผู้เปลี่ยนโฉมหน้าโลก
“FAKE NEWS” ช่องโหว่ของข่าวจริง!
ความแตกต่างของสถานที่กักตัว
Design by Genius
©2021 PadaAcademy. All right reserved.
สอบถามเพิ่มเติม คลิก!
โทรหาเราคลิก!!
แชทกับเราคลิก!
แชทกับเราคลิก!